วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หน่ยวการเรียนรู้ที่ 1 สังคม
  โครงสร้างทางสังคม คือ ระบบความสัมพันธ์ของกลุ่มคนในสังคม ที่มารวมตัวกันเป็นกลุ่มสังคม
  1.กลุ่มปฐมภูมิ หมายถึง  กลุ่มสังคมที่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดสนิทสนมกัน

  2.กลุ่มทุติยภูมิ   หมายถึง  กลุ่มสังคมที่มีความสัมพันธ์กันแบบเป็นทางการ  อ่านต่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงแและการพัฒนาสังคม

      สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็วในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยน  อ่านต่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วัฒนธรรม
        วัฒนธรรม หมายถึง แบบแผนการดำเนินชีวิตของมนุษย์ที่มนุษย์สร้างขึ้นในแต่ละสังคม ซึ่งแต่ละสังคมจะต้องมีวัฒนธรรมที่แตกต่างกันออกไป  พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามความหมายของวัฒนธรรมไว้ 2 นัย ดังนี้ อ่านต่อ


 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองดี
                 เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น หรือไม่กระทำความผิดตามที่กฎหมายกำหนดก็จะทำให้รัฐไม่ต้องเสียงบประมาณในการป้องกัน  ปราบปรามและจับกุมผู้ที่กระทำความผิดมาลงโทษ  อ่านต่อ


 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
          ความหมายของคำว่า ประชาธิปไตย ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า Democracy ซึ่งมาจากคำภาษากรีกว่าDemocratia ซึ่งประกอบด้วยคำ  2  คำ  คือ Demos กับkratein  อ่านต่อ



 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กฎหมาย
กฎหมาย คือ  กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น  หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ  เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ  เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม อ่านต่อ



 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สิทธิมนุษยชน

              สิทธิ มนุษยชน หมายถึง สิทธิขั้นพื้นฐานที่พึงมีโดยเสมอภาคกัน เพื่อการดำรงชีวิตได้อย่าง มีศักดิ์ศรีมีโอกาสเท่าเทียมกันในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่าง เต็มที่และสร้างสรรค์  อ่านต่อ